วันเสาร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

ทำอย่างไรไม่ให้ฟุ้งซ่าน ?

ทำอย่างไรไม่ให้ฟุ้งซ่าน ?

ความฟุ้งซ่าน คือไม่สงบ จิตคิดฟุ้งไปในอารมณ์ต่างๆ ทำให้เกิดความไม่สงบใจ จิตไม่ตั้งมั่นในอารมณ์อันเป็นกุศล ชอบคิดแต่เรื่องอกุศล ทำให้เกิดความหวั่นไหวภายในจิตใจ สาเหตุเพราะเราไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้นๆ หรือต่อเรื่องราวอันเป็นกุศล กลับไปคิดแต่เรื่องอกุศลแทน จึงทำให้เกิดความฟุ้งซ่าน

แก้ไขด้วยวิธีการดังนี้

๑. อยู่ในสถานที่ที่มีสัปปุรุษ (คนดีหรือคนที่ตั้งอยู่ในศีลธรรม)

๒. คบหาสมาคมกับสัปปุรุษนั้น

๓. ฟังธรรมจากท่านผู้เป็นสัปปุรุษนั้น

๔.ตั้งตนไว้ชอบ

และ ๕. หมั่นสั่งสมบุญไว้ เมื่อใกล้ตายจะได้ไม่ฟุ้งซ่าน.



Previous Post
Next Post

post written by:

Related Posts

  • พระสัพพัญญุตญาณเป็นดังสาคร (ทะเลใหญ่)พระสัพพัญญุตญาณเป็นดังสาคร (ทะเลใหญ่)มีคำปุจฉาว่า “ญาณสาคร เป็นไฉน ?”  มีคำตอบว่า “พระสัพพัญญุตญาณ ชื่อว่าญาณสาคร”ท่านอรรถาธิบายไว้ว่า “จริงอยู่ ญาณอื… Continue Reading
  • “ความฉลาด” คืออะไร? “คนฉลาดจริง” เป็นอย่างไร?“ความฉลาด” คืออะไร? “คนฉลาดจริง” เป็นอย่างไร?“คนฉลาด” ที่หลายคนเข้าใจ คือเก่งในทุกเรื่อง อธิบายได้ทุกอย่าง มีเหตุ มีผล แต่แก้ปัญหาชีวิตให้ตัวเองและสังคมไม่ได้ น… Continue Reading
  • อจละ แปลว่า ไม่หวั่นไหวอจละ แปลว่า ไม่หวั่นไหว“อจละ” อ่านว่า อะ-จะ-ละ แปลตามศัพท์ว่า “สิ่งที่ไม่เคลื่อนไหว” หรือ “สิ่งที่ไม่หวั่นไหว”โดยปกติ “อจล” มีความหมาย ๒ อย่าง คือ -๑. ถ้าเป็นคำ… Continue Reading
  • สาคร คือทะเลสาคร คือทะเลสาคร (ทะเล) มี ๔ ประการ คือ๑. สังสารสาคร (สาคร คือ สงสาร ได้แก่การเวียนว่ายตายเกิด)๒. ชลสาคร (สาคร คือ น้ำมหาสมุทร ได้แก่ทะเลใหญ่)๓. นยสาคร (สาคร คื… Continue Reading
  • พระไตรปิฎกเป็นดังสาคร (ทะเลใหญ่)พระไตรปิฎกเป็นดังสาคร (ทะเลใหญ่)พระพุทธพจน์คือพระไตรปิฎก จัดเป็นนัยสาคร ทะเลใหญ่อันประดับไปด้วยหัวข้อสำคัญมากมายท่านกล่าวไว้ว่า “ปีติโสมนัสอันไม่มีที่สิ้นสุด ย่… Continue Reading

0 comments: