วันเสาร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2564

พระเจ้าอโศกมหาราช ทรงร่วมปฏิรูปพระศาสนา จ ั บ ส ึ ก พระอลัชชี

พระเจ้าอโศกมหาราช ทรงร่วมปฏิรูปพระศาสนา   จ   ั  บ   ส   ึ ก  พระอลัชชี

เกร็ดน่ารู้ ว่ า ด้ ว ย เ รื่ อ ง พระเจ้าอโศกมหาราช ทรง  จ  ั บ  ส   ึ ก  พระอลัชชี และ เริ่มปฏิรูปเผยแผ่พระพุทธศาสนา

เมื่อพระเจ้าอโศกมหาราช ท ร ง  ก   ว  า  ด  ล ้ า ง  จ  ั บ  ส   ึ ก  พ ร ะ อลัชชี ทรงให้มีการสังคยานาพระไตรปิฏกครั้งที่ ๓ และเริ่มปฏิรูปเผยแผ่พระพุทธศาสนา  ครั้งหนึ่งในอดีต “พระเจ้าอโศกมหาราช” ทรงร่วมปฏิรูปพระศาสนา  จ  ั บ  ส    ึ  ก  พระอลัชชีผู้ตกอยู่ใต้อำนาจกิเลส สั่งสมของ มั  ว  เ  ม  า  ในลาภสักการะ  เ ห ล ว ไ ห ล ในเกียรติ  เ  ห่  อ  เ  หิ  ม และ เ พ ลิ ด เ พ ลิ นในโลกียวัตถุ จากนั้นทรงเป็นศาสนูปถัมภกในการสังคยานา และส่งสมณทูตประกาศพระพุทธศาสนา

เมื่อเกิดเหตุการณ์นักบวชนอกศาสนามา ป ล อ ม  บ ว ช เพื่อหวังลาภสักการะ และ บิ ด เ บื อ น คำสอนองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า

พระเจ้าอโศกมหาราช  (AShoka The Great) แห่งราชวงศ์ โมริยะ กษัตริย์ผู้ปกครองดินแดนอินเดีย (พ.ศ.276 – พ.ศ.312) พระองค์ ทรงมีพระทัยเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อ ย่ า ง  แ ร ง ก ล้ า ได้ทรงทำนุบำรุงพุทธศาสนา เช่นทรงสร้างวัด วิหาร พระสถูป พระเจดีย์ และหลักศิลาจารึกเป็นต้น ได้บำรุง พระภิกษุสงฆ์ด้วยปัจจัย 4 คือ อาหาร ที่อยู่ อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค การที่พระองค์ทรงบำรุงพระภิกษุสงฆ์เช่นนี้ ก็เพื่อจะได้พระภิกษุในพุทธศาสนาได้รับความสะดวก มีโอกาสบำเพ็ญสมณธรรมได้เต็มที่ ไม่ต้องกังวลในการแสวงหาปัจจัย 4 แทนที่จะเป็นเช่นนั้น  แต่กลับปรากฏว่ามีพวกนักบวชนอกศาสนาเป็นจำนวนมาก ป ล อ ม บ ว ช ในพุทธศาสนา เพราะเห็นแก่ลาภสักการะ เมื่อบวชแล้วก็คงสั่งสอนลัทธิศาสนาเก่าของตน โดยอ้างว่าเป็นคำสอนของพุทธศาสนา แสดงลัทธิธรรมให้ผิดคลองพระพุทธบัญญัติกระทำให้สังฆมณฑล ยุ่ ง เ ห ยิ ง แ ต ก ส า มั  ค  คี  ด้วยสัทธรรมปฏิรูป

ข้อนี้ทำให้พระโมคคัลลีบุตรติสสะเถระ (คนละรูปกับพระมหาโมคคัลลานะเถระในพุทธกาล) ซึ่งเป็นผู้ที่มีความแตกฉานในพระไตรปิฎก เกิดความ ระ อ า ใ จ   ต่ อ การประพฤติปฏิบัติของเหล่าพระภิกษุอลัชชี    ที่  ป ล อ ม บวชทั้งหลาย จึงได้ปลีกตัวไปอยู่ที่ ถ้ำอุโธตังคบรรพต เจริญวิเวกสมาบัติอยู่ที่นั้นอย่างเงียบๆ เป็นเวลา 7 ปี และมอบภารกิจคณะสงฆ์ให้พระมหินทเถระดูแลแทน

เมื่อจำนวนพระอลัชชีมีมากกว่าพระภิกษุแท้ ๆ จนพระภิกษุผู้บริสุทธิ์ งดทำอุโบสถสังฆกรรมร่วม ถึง 7 ปี

ในสมัยนั้นจำนวนของพระอลัชชี มีมากกว่าพระภิกษุแท้ ๆ จึงทำให้ต้องหยุดการทำอุโบสถสังฆกรรมถึง 7 ปี เพราะเหตุที่พระสงฆ์ ผู้มีศีลบริสุทธิ์ไม่ยอมร่วมกับพระอลัชชีเหล่านั้น

จึงทำให้พระเจ้าอโศกมหาราชไม่สบายพระหฤทัยใน ก า ร  แ ต ก แ ย ก ของพระสงฆ์ ทรงปวารณาจะให้พระสงฆ์เหล่านั้นสามัคคีกัน จึงได้ตรัสสั่งให้อำมาตย์หาทางสามัคคี ฝ่ายอำมาตย์ฟังพระดำรัสไม่แจ้งชัด สำคัญ ผิ ด ใ นหน้าที่ จึงได้ทำ ค ว า ม ผิ ด อั น ร   ้ า  ย  แ  ร ง  คือ ได้  บ  ั ง  ค  ั บให้พระภิกษุบริสุทธิ์ทำอุโบสถร่วมกับพระอลัชชี  พระภิกษุ ผู้ บ ริ สุ ท ธิ์ ต่ า ง ป ฏิ เ ส ธ ที่จะร่วมอุโบสถสังฆกรรม  อำมาตย์  จึ ง  ต   ั ด  ศ   ี ร  ษ  ะ   เ  สี  ย  ห  ล  า  ย  อ  ง  ค์

เมื่อพระเจ้าอโศกมหาราชทราบข่าวนี้ ทรง ต ก พ ร ะ ทั ย  ยิ่งจึงเสด็จไปขอ ข ม า โ ท ษ  ต่อพระภิกษุที่อาราม และได้ตรัสถามสงฆ์ว่า การที่อำมาตย์ได้ทำ ค ว า ม ผิ ด เ ช่ น นี้ ค ว า ม ผิ ด จะตกมาถึงพระองค์หรือไม่ พระสงฆ์ถวายคำตอบไม่ตรงกัน บ้างก็ว่า ความ ผิ ด จะตกมาถึงพระองค์ด้วยเพราะอำมาตย์ทำตามคำสั่ง แต่บางองค์ก็ตอบว่าไม่ถึงเพราะไม่มีเจตนา

คำวิสัชนาที่ขัดแย้งกันเช่นนี้ ทำให้พระเจ้าอโศกมหาราช  ก ร ะ ว น  ก ร ะ  ว  า  ย  พระทัย ยิ่ ง นั ก ทรงปรารถนาที่จะให้พระภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง ผู้มีความสามารถและแตกฉานในพระธรรมวินัยถวายคำวิสัชนาอย่างแจ่มแจ้ง จึงได้ตรัสถามถึง พระภิกษุเหล่านั้นก็ได้ตรัสตอบว่า มีแต่พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระรูปเดียวเท่านั้นที่อาจแก้ความสงสัยได้

พระเจ้าอโศกมหาราช จึงได้ส่งสาส์นไปอาราธนาพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ ให้ท่านเดินทางมายังเมืองปาฏลีบุตร แต่ไม่สำเร็จ เพราะพระเถระไม่ยอมเดินทางมาตามคำอาราธนา พระเจ้าอโศกมหาราชก็ทรงไม่หมดความพยายาม จึงได้รับสั่งให้พนักงานออกเดินทางโดยทางเรือรบท่านตามคำแนะนำของพระติสสะเถระ ผู้เป็นพระอาจารย์ของโมคคัลลีบุตรติสสะเถระ

ในที่สุดพระเถระก็ยอมมาและในวันที่ท่านเดินทางมาถึงนั้น พระเจ้าอโศกมหาราชได้เสด็จไปรับพระเถระด้วยพระองค์เอง ได้เสด็จลุยน้ำไปถึงพระชานุ แล้วยื่นพระกรให้พระเถระจับและตรัสว่า  "ขอพระคุณท่านจงสงเคราะห์ข้าพเจ้าเถิด"   แล้วได้นำท่านไปสู่อุทยาน ได้ทรงแสดงความเคารพพระเถระอย่างสูง และได้ตรัสถามพระเถระว่า ก า ร ที่อำมาตย์  ไ  ด้   ต  ั ด   ศ   ี ร   ษ   ะ  พ  ร  ะ ภิ ก ษุ นั้น จะเป็น บ า ป ก ร ร ม  ตกถึงตนหรือไม่ พระเถระได้ตอบว่า  “มหาบพิตร จะเป็นเป็น บ า ป ไ ด้  ก็ต่อเมื่อพระองค์มีเจตนาที่จะฆ่าเท่านั้น”

คำวิสัชนาของพระเถระนั้น ทำให้พระองค์ทรงพอพระทัยมาก   พระอลัชชี  มั  ว  เ   ม  า  ใ น ลาภสักการะ แม้แต่พระภิกษุก็ยังตกภายใต้อำนาจ

ฝ่ายพระอลัชชีผู้  ป ล อ ม  บ ว ช ใ นพุทธศาสนานั้นก็ยังพยายามที่จะประกอบ  มิ จ ฉ า ชี พ   อยู่ต่อไป พระเหล่านั้นได้   มั   ว  เ   ม  า   ห  ล  ง ใ  ห  ล ใ นลาภสักการะ  ไม่พอใจในการปฏิบัติธรรม อาศัยผ้าเหลืองเลี้ยงชีพ ประพฤติ ผิ ด ธรรมวินัย ไ ม่ สำ ร ว ม ระ วั ง  ในสีลาจารวัตร เที่ยว  อ ว  ด อ้ า ง  คุณสมบัติโดยอาการต่าง ๆ เพื่อ ห ล อ ก  ล  ว ง  ประชาชนให้ ห ล ง  เ ชื่ อ เพื่อหาลาภสักการะเข้าตัว เพราะเหตุนี้จึงทำให้พระสัทธรรมอันบริสุทธิ์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าต้อง  พ ล อ ย ด่ า ง พ ร้ อ ย ไ ป ด้วย ความอลเวงได้เกิดขึ้นในวงการของพุทธศาสนาทั่วไปลาภสักการะมีอำนาจเหนือ อุดมคติของผู้เห็นแก่ได้

แม้กระทั่งผู้ทรงเพศเป็นพระภิกษุห่มเหลืองก็ยังตกอยู่ภายใต้อำนาจของมัน ที่จริงผู้มีลาภคือผู้มีบุญ    แต่  มั  ว   เ   ม  า   ในลาภคือสั่งสม บ า ป การที่พระได้ของมามาก ๆ จากประชาชนที่เขาบริจาคด้วยศรัทธานั้น นับว่าเป็นการดีไม่มี ผิ ด แต่การที่พระสั่งสมของ มั ว เ  ม า  ในล า ภ เ ห ล ว ไ ห ล  ในเกียรติ เ ห่ อ  เ หิ มและ เพ ลิ ด เ พ ลิ น  ในโลกียวัตถุ จนลืมหน้าที่ของตนนั้นนับว่าเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างยิ่ง

เริ่มกระบวนการกวาดล้างพระอลัชชี เพื่อทำพระพุทธศาสนาให้บริสุทธิ์

พ.ศ. 287 พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ  ได้ถวายเทศนาแก่พระเจ้าอโศกมหาราช  จนพระองค์ทรงมีความเลื่อมใส และซาบซึ้งในหลักธรรมอันบริสุทธิ์ของพระพุทธองค์ ได้ประทับอยู่ที่อุทยานนับเป็นเวลา 7 วัน เพื่อชำระพระศาสนาให้บริสุทธิ์จากเดียรถีย์ที่เข้ามา ป ล อ ม บ ว ช ในวันที่ 7 พระองค์ได้ประกาศบอกนัดให้พระภิกษุที่อยู่ในชมพูทวีปทั้งสิ้นให้มาประชุมที่อโศการามเพื่อชำระความบริสุทธิ์ของตน ภายใน 7 วัน พระองค์ประทับนั่งภายในม่านกับท่านโมคคัลลีบุตรติสสเถระ ได้สั่งให้ภิกษุผู้สังกัดอยู่ในนิกายนั้น ๆ นั่งรวมกันเป็นนิกาย ๆ แล้วตรัสถามให้พระภิกษุเหล่านั้นอธิบายคำสอนของพระพุทธองค์ ซึ่งพระสงฆ์เหล่านั้นได้อธิบาย ผิ  ด ไป  ตามลัทธิของตน ๆ พระเจ้าอโศกมหาราชจึงได้ตรัส  ใ  ห้  ส    ึ ก  พระอลัชชีเหล่านั้นทั้งหมด ซึ่งเป็นจำนวน 60,000 รูป

ครั้น    ก  ำ  จ  ั  ด   พระภิกษุ พ ว ก อลัชชี  ให้หมดไปจากพุทธศาสนาแล้ว  พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ  จึงได้จัดให้มีการทำสังคายนาครั้งที่ ๓ ขึ้น ณ อโศการาม เมืองปาฏลีบุตร โดยได้รับราชูปถัมภ์จากพระเจ้าอโศกมหาราชอย่างเต็มที่

การสังคายนาพระไตรปิฏก ครั้งที่ 3 และเผยแผ่พระพุทธศาสนา ผ่านคณะสมณทูต

หลังจากที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเสด็จ  ดั บ  ขั  น  ธ  ป ริ นิ พ พ า น ไปได้ประมาณ 236 ปีเศษ คณะสงฆ์ได้ทําการสังคายนาครั้งที่ ๓  เมื่อทําสังคายนาเสร็จแล้ว พระเจ้าอโศกมหาราชได้ส่งคณะสมณทูตไปเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในแคว้นและประเทศต่างๆ รวมทั้งหมดมี ๙ สาย มีรายนามตามคัมภีร์ที่บันทึก เป็นภาษาบาลี ดังต่อไปนี้ :- 

๑.  คณะพระมัชฌันติกเถระ ไปแคว้นแคชเมียร์และคันธาระ ซึ่งอยู่ทางทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย ได้แก่ แคว้นแคชเมียร์ในปัจจุบัน    ๒.  คณะพระมหาเทวเถระ ไปมหิสสกมณฑลอยู่ทางตอนใต้ของดินแดน แถบลุ่มแม่น้ําโคธาวารี ทางภาคใต้ของอินเดีย ได้แก่ แคว้นไมซอร์ในปัจจุบัน    ๓.  คณะพระรักขิตเถระ ไปวนวาสีประเทศ ซึ่งอยู่ในเขตกนราเหนือ ทาง ภาคตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย แคว้นบอมเบย์ ในปัจจุบัน

๔.  คณะพระธัมมรักขิตเถระ ซึ่งท่านเป็นชนชาติกรีก ไปปรันตชนบท อยู่ ริมฝั่งทะเลอาระเบียน ทางทิศเหนือของบอมเบย์    ๕. คณะพระมหาธัมมรักขิตเถระ ไปแคว้นมหาราษฎร์ปัจจุบันเป็นดินแดน แถบตะวันออกเฉียงเหนือ ห่างจากเมืองบอมเบย์    ๖. คณะพระมหารักขิตเถระ ไปโยนกประเทศ ได้แก่ แคว้นของชาวกรีก ในทวีปเอเซียตอนกลาง เหนือประเทศอิหร่านต่อขึ้นไปจนถึงเตอร์กีสถาน

๗.  คณะพระมัชฌิมเถระและพระมหาเถระอีก 4 รูป คือ พระกัสสปโคตตะ พระมูลกเทวะ พระทุนทภิสสระ และพระเทวะ ไปแคว้นดินแดนแถบภูเขาหิมาลัย ได้แก่ เนปาล ซึ่งอยู่ตอนเหนือของอินเดีย    ๘. คณะพระโสณเถระ และพระอุตตรเถระ ไปสุวรรณภูมิ ได้แก่ ไทยพม่า ในปัจจุบัน    ๙. คณะพระมหินทเถระผู้เป็นโอรสของพระเจ้าอโศกมหาราช ได้นํา พระพุทธศาสนาไปประดิษฐานที่เกาะสิงหล หรือประเทศศรีลังกาเป็นครั้งแรก

ที่มา :  True Plook Panya











Previous Post
Next Post

post written by:

0 comments: