วันพุธที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

จะ ภะ กะ สะ - คาถากาสลัก - ภะ ภ สำเภา

จะ  ภะ  กะ  สะ  - คาถากาสลัก  -  ภะ ภ สำเภา

จะ พะ กะ สะ   -  พะ พ พาน ผิด✘

จะ  ภะ  กะ  สะ   -  ภะ ภ สำเภา ถูก✔

จะ  ภะ  กะ  สะ   -  จะภะกะสะ   -  จภกส 

จ > จช = ท่านจงละทิ้ง ,   ภ > ภช = ท่านจงคบหา  ,  ก > กร = ท่านจงกระทำ,    ส > สร = ท่านจงระลึก

จะ > จะชะ ทุชชะนะสังสัคคัง 

ภะ > ภะชะ สาธุสะมาคะมัง 

กะ > กะระ ปุญญะมะโหรัตตัง

สะ > สะระ นิจจะมะนิจจะตัง. 

จช  ทุชฺชนสํสคฺคํ      ภช  สาธุสมาคมํ 
กร  ปุญฺญมโหรตฺตํ      สร  นิจฺจมนิจฺจตํ. 

จงละทิ้งคนพาลอย่าผ่านพบ     จงเลือกคบคนดีทวีผล

จงทำบุญทุกวันคืนชื่นกมล    จงเตือนตนหมั่นคิดอนิจจัง

____

พลเรือตรี ทองย้อย แสงสินชัย

๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔

๑๐:๓๕

57. ผู้มิใช่บัณฑิต56. เห็นอย่างบัณฑิต55. ความลับของบัณฑิต54. ชนที่ไม่ควรถือโทษ53. สภาที่ไม่เป็นสภา52. บัณฑิต ๓ ประเภท,  51. บุตร ๓ จำพวก50. แกล้งเป็นจะเห็นธรรม49. ดูฟังอย่างปราชญ์48. วิถีของนักปราชญ์47. ผู้นี้เป็นบัณฑิตได้ฤา46. บัณฑิตกับคนพาล45. พูดเล่นอาจเป็นจริง44. คบคนดีย่อมมีผล43. คนชอบพูดแต่ส่วนดี42. นักปราชญ์ก็เศร้าหมองได้41. ไม่มีใครสมบูรณ์ทุกอย่าง40. สิ่งบัณฑิตไม่ควรดูหมิ่น39. บัณฑิตธรรม ๓ ประการ38. ลักษณะของบัณฑิต,  37. สรีระกับคุณความดี36. ควรฝึกตนเองก่อน35. คำชมที่ควรชัง34. พระราชากับนักปราชญ์33. รู้อย่างบัณฑิต32.  ประโยชน์ ๒ อย่าง31. ธรรมของบัณฑิต ๗ อย่าง30. สิ่งที่ควรละเว้น ๑๑ อย่าง29. เมื่อบัณฑิตเห็นภัย28. ฟังเป็นเห็นสุขคาถากาสลัก  จะ ภะ กะ สะ

1. อาจริยกถา แถลงอาจารย์ ,  2. สิปปกถา - แถลงศิลปะ  , ๓. ปัญญากถา - แถลงปัญญา  , 4. สุตกถา - แถลงความรู้  , 5. กถากถา - แถลงถ้อยคำ , 6. ธนกถา - แถลงทรัพย์ , 7. เทสกถา - แถลงประเทศ




Previous Post
Next Post

0 comments: