"พระจาริก" ไม่ใช่ “พระธุดงค์” ในบรรดาเรื่องที่คนไทยเข้าใจผิดอย่างชนิดฝังรากลึก ถึงขั้นหลงผิด ก็คือเรื่องพระธุดงค์ พอเห็นพระแบกกลด สะพายบาตร สะพายย่าม...
วันศุกร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2564
ว่าด้วยวางใจคนที่ชอบใจ"ยสฺมึ มโน นิวิสติ, จิตฺตญฺจาปิ ปสีทติ; อทิฏฺฐปุพฺพเก โปเส, กามํ ตสฺมิมฺปิ วิสฺสเสติ...
พระพุทธศาสนา เป็น “วิภัชชวาท” คือ มองความจริงอย่างวิเคราะห์ แยกแยะ จำแนก แจกแจง ให้เห็นครบทุกแง่ ทุกด้าน..“ วิภัชชวาท” คือ การแสดงความจริงหรือการสอนโดยจำแนกแยกแยะ...
“ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจของเรานี้เป็นอุปกรณ์เครื่องฝึกตน ผู้ฝึกตนได้แล้วย่อมเป็นที่หมายปองของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เหมือนม้าอาชาไนยที่ฝึกดีแล้วฉะนั้น”บุคคลผู้ฝึกสำรวมตา...
รสของความโกรธมีหนึ่งเดียวคือเผาไหม้จิตใจ ดุจสะเดามีรสขมอย่างเดียวฉะนั้นหน่ออ่อนที่งอกจากเมล็ดสะเดามีใบข้างละหนึ่งใบ โผล่พ้นจากแผ่นดินยังไม่ถึง ๔ นิ้ว ยังมีรสขมเสมอกับยาพิษ...
วันพฤหัสบดีที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2564
การหัดตาย ก็คือปล่อยใจจากสิ่งทั้งหลาย ก่อนที่จะถูกความตายบังคับให้ปล่อย..“ ปราชญ์ทางพุทธศาสนาคือผู้มีปัญญา ท่านสอนให้เร่งอบรม “มรณสติ” นึกถึงความตาย หัดตายก่อนตายจริง...
ภาราทานํ ทุกฺขํ โลเก, ภารนิกฺเขปนํ สุขํ - แบกภาระเป็นทุกข์ ปลงภาระเป็นสุขภารา หเว ปญฺจกฺขนฺธา, ภารหาโร จ ปุคฺคโล, ภาราทานํ ...
เวลาที่เราสบายใจที่สุด ก็คือ เวลาที่เราลืมว่า “เรามีตัวเรา”“… เพราะฉะนั้น ประโยคที่ว่า “เรามีความสุขแท้จริงต่อเมื่อเราไม่รู้สึกว่ามีอะไร เป็นตัวเรา ของเรา” นี้เป็นเรื่องจริงของธรรมชาติด้วย,...