วันศุกร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2564

ที่มาของการเข้าพรรษา

ที่มาของการเข้าพรรษา

[ณ วัดเวฬุวัน ใกล้กรุงราชคฤห์ ภิกษุต่างเดินทางตลอดทุกฤดู ผู้คนก็วิจารณ์กันว่า]

ประชาชน:  ทำไมพระกลุ่มศากยะบุตรถึงได้เดินทางตลอดทั้งฤดูหนาว ฤดูร้อน ฤดูฝน เหยียบย่ำหญ้าเขียวๆ ทำให้สัตว์เล็กๆจำนวนมากต้องตาย ขนาดพวกนักบวชลัทธิอื่นๆ (ปริพาชกอัญญเดียรถีย์) ซึ่งไม่ได้สอนหลักธรรมที่ดีนัก ยังหยุดพักช่วงหน้าฝนเลย แม้แต่พวกนกก็หยุดทำรังบนยอดไม้เหมือนกัน

[ภิกษุทั้งหลายได้ยินคำวิจารณ์ก็นำไปบอกพระพุทธเจ้า]

พ:  ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้จำพรรษาได้

ที่มา: เรียบเรียงจากพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย เล่มที่ 6 (พระวินัยปิฎก มหาวรรค ภาค 1 วัสสูปนายิกขันธกะ เรื่องการจำพรรษา), 2559, น.467

ช่วง 35 วันแรกหลังการตรัสรู้ (ตอน 1),  ช่วง 35 วันแรกหลังการตรัสรู้ (ตอน 2),  ช่วง 35 วันแรกหลังการตรัสรู้ (ตอน 3),  ช่วง 35 วันแรกหลังการตรัสรู้ (ตอน 4),  ช่วง 35 วันแรกหลังการตรัสรู้ (ตอน 5),  จะสอนใครเป็นคนแรกดี,  สอนธรรมะครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ (ตอน 1),  สอนธรรมะครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ (ตอน 2),  สอนธรรมะครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ (ตอน 3),  ที่นี่ไม่วุ่นวาย ที่นี่ไม่ขัดข้อง,  ส่งพระสงฆ์ออกไปแสดงธรรมแก่หมู่ชน,  จะตามหาผู้หญิงหรือตามหาตัวเอง,  วิธีที่ทำให้ชฎิลยอมรับสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อนที่มาของวัดแห่งแรกในพุทธศาสนา,  ที่มาของคู่สาวกพระพุทธเจ้า,  ให้ได้พบธรรมที่ดี,  ที่มาของอุปัชฌายะ (ผู้คอยสอดส่องเอาใจใส่)




Previous Post
Next Post

post written by:

0 comments: